วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2561

สรุปคำสั่งHTML(2)




<FRAMESET COLS or ROWS = "80%,*" >
<FRAME SRC = "URL" หรือ ไฟล์รูปภาพ >
<FRAME SRC = "URL" หรือ ไฟล์รูปภาพ >

</FRAMESET>

แบ่งจอภาพในแนวตั้ง

<FRAMESET COLS = "80%,*" >

<FRAME SRC = "main.html" >
<FRAME SRC = "menu.gif" >

</FRAMESET>

80%

20%


คำอธิบาย
แบ่งหน้าจอเป็น 2 ส่วน ในแนวตั้ง ส่วนทางซ้ายมีพื้นที่ 80% ของหน้าจอทั้งหมด ส่วนทางขวาคือพื้นที่ที่เหลือ (20%) จอทางขวาจะมีรูปภาพชื่อ menu.gif


แบ่งจอภาพในแนวนอน

<FRAMESET ROWS = "80%,*" >

<FRAME SRC = "main.html" >
<FRAME SRC = "menu.gif" >

</FRAMESET>

20%

80%


คำอธิบาย
แบ่งหน้าจอเป็น 2 ส่วน ในแนวนอน ด้านบนพื้นที่ 20% ส่วนด้านล่างมีพื้นที่ 80%

แบ่งจอภาพในแนวตั้งและแนวนอน

<FRAMESET ROWS = "15%,*" >

<FRAME SRC = "top.html" >

<FRAMESET COLS = "20%,80%" >

<FRAME SRC = "left.html" >
<FRAME SRC = "right.html" >

</FRAMESET>

</FRAMESET>

15%
20%
80%

คำอธิบาย
แบ่งหน้าจอทั้งหมดเป็น 3 ส่วน ด้านบนพื้นที่ 15% ส่วนด้านล่างมีพื้นที่ 85% ในพื้นที่ด้านล่างแบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้านซ้าย 20% ด้านขวา 80% (เหมือนกับเวปเพจที่ท่านเห็นอยู่นี้)
การแบ่งพื้นที่จอภาพ สามารถแบ่งได้ทั้งแถวตั้ง และแนวนอน สามารถจะแบ่งเท่าไหร่ก็ได้ ขึ้นกับผู้เขียน แต่อย่างไรก็ตาม ควรมีการกำหนดสัดส่วนให้ตรงกับข้อมูล หรือรูปภาพที่นำมาลงในเวปด้วย... 

<FRAMESET> เป็นคำสั่งเริ่มต้นการแบ่งหน้าจอ และปิดท้ายด้วย </FRAMESET> 
คำสั่งนี้ จะมาแทนที่คำสั่ง <BODY> 

<FRAME SRC > เป็นคำสั่งย่อยของ FRAMESET เพื่อกำหนดการแสดงผลข้อมูลว่า จะแสดงเป็น HTML อีกไฟล์ หรือจะให้แสดงเป็นรูปภาพก็ได้ 

จากตัวอย่างด้านซ้าย เรากำหนดขนาดของจอภาพเป็นเปอร์เซ็นต์ 80%,* (เครื่องหมาย * หมายถึง ขนาดขอจอภาพที่เหลือ) นอกจากนี้เรายังสามารถกำหนดเป็น pixel ได้ด้วย เช่น 500,100 เป็นต้น 

คำสั่งเสริมเพิ่มเติม 
กำหนดตำแหน่งข้อความตามแนวนอน 
align = "left" 
align = "center" 
align = "right" 

กำหนดตำแหน่งข้อความตามแนวตั้ง 
valign = "top" 
valign = "middle" 
valign = "bottom" 

รูปแบบคำสั่ง 
<TR ALIGN= "CENTER" > 
หรือ <TR VALIGN= "TOP" > 

ตั้งชื่อพื้นที่ 
หลังจากมีการแบ่งพื้นที่จอภาพแล้ว อาจจำเป็นที่เราต้อง ตั้งชื่อพื้นที่ เนื่องจากการสร้างจุดลิงค์เพื่อให้แสดง ในพื้นที่ที่ต้องการ ดังตัวอย่างนี้ 

<FRAME SRC = "right.html" name = "show" > 
สร้างลิงค์ให้แสดงในพื้นที่ที่มีชื่อว่า show 
<a href = "page2.html" target = "show"> 





วันจันทร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2561

สรุปคำสั่ง HTM (1)








สรุปคำสัง HTML

!-- ข้อความ --> คำสั่ง หมายเหตุ ใช้อธิบายความหมาย ขื่อผู้เขียนโปรแกรม และอื่นๆ


<br> คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่


<p> ข้อความ </p> คำสั่งย่อหน้าใหม่


<hr width = "50%" size = "3"> คำสั่ง ตีเส้น, กำหนดขนาดเส้น


&nbsp; คำสั่ง เพิ่มช่องว่าง


<IMG SRC = "PHOTO.GIF"> คำสั่งแสดงรูปภาพชื่อ Photo.gif


<CENTER> ข้อความ </CENTER> คำสั่งจัดให้ข้อความอยู่กึ่งกลาง


<HTML> </HTML> คำสั่ง <HTML> คือคำสั่งเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรม HTML และมีคำสั่ง </HTML> เพื่อบอกจุดสิ้นสุดโปรแกรม


<HEAD> </HEAD> คำสั่ง <HEAD> คือคำสั่งบอกส่วนที่เป็นชื่อเรื่อง โดยมีคำสั่งย่อย <TITLE> อยู่ภายใน


<TITLE> </TITLE> คำสั่ง <TITLE> คือคำสั่งบอกชื่อเรื่อง จะไปปรากฏที่ Title Bar


<BODY> </BODY> คำสั่ง <BODY> คือคำสั่งบอกส่วนเนื้อเรื่อง ที่จะถูกแสดงผลในเวปบราวเซอร์ ประกอบด้วยรูปภาพ ตัวอักษร ตาราง เป็นต้น


รูปแบบตัวอักษร


<font size = "3"> ข้อความ </font> ขนาดตัวอักษร


<font color = "red"> ข้อความ </font> สีตัวอักษร


<font face = "Arial"> ข้อความ </font> รูปแบบตัวอักษร


<besefont size = "2"> ข้อความ </font> กำหนดค่าเริ่มต้นของขนาดตัวอักษร


<b> ข้อความ </b> ตัวอักษรหนา


<i> ข้อความ </i> ตัวอักษรเอน


<u> ข้อความ </u> ขีดเส้นใต้ตัวอักษร


<tt> ข้อความ </tt> ตัวอักษรแบบพิมพ์ดีด


















วันจันทร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2561

ภาษาคอมพิวเตอร์



1. ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึง

ตอบ ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทำงานตามคำสั่งนั้นได้ คำนี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกันยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม






2. ภาษาคอมพิวเตอร์มีกี่ระดับ


ตอบ ภาษาคอมพิวเตอร์ มี 2 ระดับ คือ

1. ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทำความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีจึงจะสามารถ
เขียนโปรแกรมสั่งงานได้มีข้อดีในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุมอาร์ดาแวร์แต่ละส่วนได้โดยตรงจึงทำงานได้เร็ว แต่ไม่เหมาะที่จะใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่ำได้แก่ ภาษาเครื่อง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)เป็นต้น


2.ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทำความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของ
การใช้คำสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานจะต้องมีการแปลความหมายของคำสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคำสั่งที่เรียกว่า Interpreterหรือแปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรมที่เรียกว่า Compiler







3. ตัวแปลภาษา


ตอบ ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์

การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ต่างๆนั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะเลือกภาษาใดในการเขียนโปรแกรม ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของภาษากับลักษณะของงาน และความถนัดของผู้เขียนโปรแกรมเอง แต่รูปแบบของภาษาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จะเป็นภาษาที่มนุษย์เข้าใจ เพราะเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาของมนุษย์ เรียกว่า “ภาษาระดับสูง (High-level Language)”ภาษาเหล่านี้ระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถเข้าใจได้ เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถเข้าใจได้ เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า แทนด้วยระบบเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 หรือที่เรียกว่า “ภาษาเครื่อง” อยู่ในกลุ่มภาษาระดับต่ำ (Low-level Language) ดังนั้นการเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่งได้นั้นจะต้องทำการแปลชุดคำสั่งจากภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจและสามารถปฏิบัติงานตามคำสั่งได้ สามารถแบ่งรูปแบบของตัวแปลภาษาได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ คือ

1. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreters)

อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreters) ทำหน้าที่แปลความหมายของชุดคำสั่ง เขียนขึ้นด้วยโปรแกรมภาษาระดับสูง (high-level Language) โดยวิธีการแปลความหมายในรูปแบบของอินเตอร์พรีเตอร์ คือการอ่านคำสั่งและแปลความหมายทีละบรรทัดคำสั่ง เมื่อพบข้อผิดพลาดจะแจ้งข้อผิดพลาดให้ผู้เขียนทราบและแก้ไขได้ทันที แต่เมื่อประมวลชุดคำสั่งเหล่านั้นแล้ว จะไม่สามารถเก็บไว้ใช้ได้อีก ถ้าต้องการที่จะเรียกใช้นครั้งต่อไปต้องทำการประมวลชุดคำสั่งนี้ใหม่ ทำให้การทำงานของโปรแกรมค่อนข้างช้า จึงเหมาะกับการเขียนโปรแกรมที่มีขนาดเล็ก ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้แปลอินเตอร์พรีเตอร์ได้แก่ ภาษาเบสิก

2. คอมไพเลอร์ (Compilers)

คอมไพเลอร์ (Compilers) ทำหน้าที่แปลความหมายของชุดคำสั่งเขียนขึ้นด้วยโปรแกรมภาษาระดับสูง (high-level Language) เช่นเดียวกับอินเตอร์พรีเตอร์ แต่มีความแตกต่างกัน สำหรับวิธีการแปลความหมาย เนื่องจากคอมไพเลอร์ จะอ่านชุดคำสั่งทั้งหมดและแปลความหมายของชุดคำสั่งทั้งหมดในครั้งเดียว เมื่อแปลความหมายของชุดคำสั่งทั้งหมดแล้วจะได้เป็น Object Code หรือ สัญลักษณ์ของรหัสคำสั่ง ที่สามารถเก็บไว้ได้เมื่อต้องการใช้งานในครั้งต่อไปโดยไม่ต้องเสียเวลาในการแปลชุดคำสั่งนั้นอีก จึงเหมาะกับการเขียนโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่ ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ตัวแปลคอมไพเลอร์ ได้แก่ ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล และภาษาฟอร์แทรน







http://titlenuchjara.blogspot.com/p/blog-page.html

















โปรแกรมคอมพิวเตอร์






ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คำสั่งหรือชุดคำสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ เราจะให้คอมพิวเตอร์ทำอะไรก็เขียนเป็นคำสั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอนและแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็นงานชิ้นหนึ่งขึ้นมามีชื่อเรียกว่า "โปรแกรม" ซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ

1.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

1.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)




2.โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท

ตอบ 3 ประเภท


1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)







เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ประสานกัน และควบคุมลำดับขั้นตอนการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมแพร่หลาย ได้แก่ DOS, UNIX, WINDOWS, SUN, OS/2, NET WARE เป็นต้น

โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating Systems : OS) หรือ Supervisory Programs หรือ Monitors Programs เป็นโปรแกรมที่สำคัญที่สุดอีกประการหนึ่งและมีความสลับซับซ้อนมาก ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถควบคุม (Control) การปฏิบัติงานของเครื่องได้เองโดยอัตโนมัติ และดูแลตรวจตราทุก ๆ การทำงานของฮาร์ดแวร์ในระบบคอมพิวเตอร์ นับตั้งแต่เปิดเครื่องจนกระทั่งปิดเครื่อง ทำหน้าที่เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างซอฟต์แวร์กับฮา ช่วยสนับสนุน เพิ่ม หรือขยายขีดความสามารถของโปรแกรมที่ใช้งานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ยูทิลิตี้แบ่งออกเป็นสองชนิดคือ โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility program) และโปรแกรมอรรถประโยชน์อื่น ๆ (stand-alone utility program)















โปรแกรมอรรถประโยชน์ utility program/software) เรียกสั้นๆ ว่า ยูทิลิตี เป็นโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ทำงานบนระบบปฏิบัติการ คุณสมบัติการใช้งานนั้นค่อนข้างหลากหลาย ส่วนมากใช้เพื่อบำรุงรักษาและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของ ช่วยสนับสนุน เพิ่ม หรือขยายขีดความสามารถของโปรแกรมที่ใช้งานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ยูทิลิตี้แบ่งออกเป็นสองชนิดคือ โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility program) และโปรแกรมอรรถประโยชน์อื่น ๆ (stand-alone utility program)






โปรแกรมประยุกต์ ( application program) หรือ ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชั่น ( application software) ในบางครั้งเรียกย่อว่า แอปพลิเคชั่น หรือ แอป คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกออกแบบให้รับรองการทำงานหรือกิจกรรมหลายด้านเพื่อประโยชน์ของผู้ใช้ ตัวอย่างแอปพลิเคชั่นได้แก่ (word processor), (spreadsheet), แอปพลิเคชั่นบัญชี (accounting application), , แอปพลิเคชั่นเล่นคลิปสื่อ (media player), โปรแกรมจำลองการบิน (flight simulator), เกมคอนโซล, หรือ โปรแกรมตัดต่อภาพ คำว่าซอฟต์แวร์แอปพลิเคชั่นหมายถึงแอปพลิเคชั่นทั้งหมด ส่วนคำว่าซอฟต์แวร์ระบบ (system software) มักหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้บนคอมพิวเตอร์ แอปที่ถูกสร้างสำหรับใช้งานบนมือถือเรียกว่าแอปมือถือ (mobile app)






https://sites.google.com/site/sxftwaerkhxmphiwtexr/prapheth-khxng-sxftwaer/1-sxftwaer-rabb-system-software



https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C






https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C

















วันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561

ใลงานที่2เรื่อง การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ



1) การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State The Problem) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา
แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้ามไป
จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือ
การทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือ
เงื่อนไขของปัญหาคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้ประมวลผล
กล่าวโดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ดังนี้

การระบุข้อมูลเข้า
ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา
การระบุข้อมูลออก
ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ
การกำหนดวิธีประมวลผล
ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบหรือข้อมูลออก

2) การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And Algorithm Development) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน
หลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่
และสิ่งที่ต้องการหาในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน
หลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่
และสิ่งที่ต้องการหาในขั้นตอนที่ 1
แล้ว
เราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา
ขั้นตอนนี้จำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก
หากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทำนองนี้มาแล้วก็สามารถดำเนินการตามแนวทางที่
เคยปฏิบัติมา

ขั้นตอนนี้จะเริ่มจากการเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา
โดยพิจารณาความเหมาะสมระหว่างเครื่องมือกับเงื่อนไขต่างๆ ของปัญหา
ซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของเครื่องมือในการแก้ปัญหาดังกล่าว
และสิ่งที่สำคัญที่สุดคือความคุ้นเคยในการใช้งานเครื่องมือนั้นๆ ของผู้แก้ปัญหา

อีกสิ่งหนึ่งที่ สำคัญในการแก้ปัญหา คือ
ยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหา หรือที่เราเรียกว่า “ขั้นตอนวิธี” (Algorithm) ในการแก้ปัญหา
หลังจากที่เราได้เครื่องมือช่วยแก้ปัญหาแล้ว
ผู้แก้ปัญหาต้องวางแผนว่าจะใช้เครื่องมือดังกล่าวเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูก
ต้องที่สุด การออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา
ผู้แก้ปัญหาควรใช้แผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการทำงาน
เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ เช่น ผังงาน (Flowchart) ที่จำลองวิธีขั้นตอนการแก้ปัญหาในรูปแบบสัญลักษณ์
รหัสจำลอง (Pseudo Code) ซึ่งเป็นการจำลองขั้นตอนวิธีการปัญหาในรูปแบบคำบรรยาย
การใช้เครื่องมือช่วยออกแบบดังกล่าว
นอกจากแสดงกระบวนการที่ชัดเจนแล้วยังช่วยให้ผู้แก้ปัญหาสามารถหาข้อผิดพลาด
ของวิธีการที่ใช้ได้ง่ายและแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว


3) การดำเนินการแก้ปัญหา (Implementation) หลังจากที่ออกแบบขั้นตอนวิธีเรียบร้อยแล้ว
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้
การแก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงาน
ขั้นตอนนี้ก็เป็นการใช้โปรแกรมสำเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ ปัญหา
ขั้นตอนนี้ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้
ซึ่งผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะดำเนินการ
หากพบแนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้ ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้


4) การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว
ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า
วิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
โดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียด
ของปัญหา ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้าและข้อมูลออก
เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ทุกกรณีอย่างถูกต้องสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ที่ดี
ที่สุด

ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น เป็นเสมือนขั้นบันได (Stair) ที่ทำให้มนุษย์ประสบความสำเร็จในการแก้ปัญหาต่างๆ
ได้ รวมทั้งการเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหา ก็ต้องใช้กระบวนการตามขั้นตอนทั้ง
4 นี้เช่นกัน

My profile







Hello My name is pavornvich silaruk M.5/5 No23



My nickname is Mark, I'm 16 years old. My family has 3 people, my parents. My hobby is to listen to music. Sports like soccer Favorite color is blue Favorite food is omelette. The animal is not like snakes. My favorite animal is a dog. I like to go to the beach because the atmosphere is nice and quiet. I like to go to Phuket because of the beautiful sea. I like to eat food, but I do not like to eat spicy. I like England because it's cold. I like to go camping at the forest. I like it because it makes me feel good.I like to travel with friends in different places and where I like with friends is Trat.